ช่อดอกมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ก้านช่อสั้นมาก ก้านช่อยาว ก้านช่อตั้งแข็ง กล้วยไม้อาจออกดอกตั้งแต่ ๑ ดอกขึ้นไป หรืออาจเป็นช่อแบบแขนง ชี้ตั้งขึ้นในแนวระนาบ โค้ง หรือ ห้อยลง ก็ได้ ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศคือ มีทั้งเกสรตัวผู้ และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน โดยดอกมีลักษณะสมมาตรกันทั้งสองข้าง ปกติดอกกล้วยไม้จะมีกลีบ ๖ กลีบ แบ่งเป็นกลีบเลี้ยง ๓ กลีบ กลีบดอก ๓ กลีบ อาจมีกลิ่นหอม หรือฉุนก็ได้เพื่อล่อกามฑูตให้มาผสมพันธุ์
ชีววิทยา
วันพฤหัสบดีที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
ดอก
ช่อดอก และดอก
ช่อดอกมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ก้านช่อสั้นมาก ก้านช่อยาว ก้านช่อตั้งแข็ง กล้วยไม้อาจออกดอกตั้งแต่ ๑ ดอกขึ้นไป หรืออาจเป็นช่อแบบแขนง ชี้ตั้งขึ้นในแนวระนาบ โค้ง หรือ ห้อยลง ก็ได้ ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศคือ มีทั้งเกสรตัวผู้ และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน โดยดอกมีลักษณะสมมาตรกันทั้งสองข้าง ปกติดอกกล้วยไม้จะมีกลีบ ๖ กลีบ แบ่งเป็นกลีบเลี้ยง ๓ กลีบ กลีบดอก ๓ กลีบ อาจมีกลิ่นหอม หรือฉุนก็ได้เพื่อล่อกามฑูตให้มาผสมพันธุ์
ช่อดอกมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ก้านช่อสั้นมาก ก้านช่อยาว ก้านช่อตั้งแข็ง กล้วยไม้อาจออกดอกตั้งแต่ ๑ ดอกขึ้นไป หรืออาจเป็นช่อแบบแขนง ชี้ตั้งขึ้นในแนวระนาบ โค้ง หรือ ห้อยลง ก็ได้ ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศคือ มีทั้งเกสรตัวผู้ และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน โดยดอกมีลักษณะสมมาตรกันทั้งสองข้าง ปกติดอกกล้วยไม้จะมีกลีบ ๖ กลีบ แบ่งเป็นกลีบเลี้ยง ๓ กลีบ กลีบดอก ๓ กลีบ อาจมีกลิ่นหอม หรือฉุนก็ได้เพื่อล่อกามฑูตให้มาผสมพันธุ์
ใบ
ใบกล้วยไม้
กล้วยไม้มีใบเดี่ยว เส้นใบจะมีลักษณะขนานกันไปตามความยาวของใบ มีทั้งใบแบน ใบกลม และใบร่อง มีการเรียงตัวแบบสลับกัน หรือ เรียงตัวแบบซ้อนทับกัน สีใบเขียวอมเหลือง อาจมีมีลวดลายสีสันสวยงาม ตามแต่ชนิดของกล้วยไม้นั้นๆ ใบกล้วยไม้ทำหน้าที่สังเคราะห์แสง และยังทำหน้าที่คายน้ำออกจากต้นทำให้รากสามารถดูดซับน้ำ และแร่ธาตุไปใช้งานได้ด้วย
กล้วยไม้มีใบเดี่ยว เส้นใบจะมีลักษณะขนานกันไปตามความยาวของใบ มีทั้งใบแบน ใบกลม และใบร่อง มีการเรียงตัวแบบสลับกัน หรือ เรียงตัวแบบซ้อนทับกัน สีใบเขียวอมเหลือง อาจมีมีลวดลายสีสันสวยงาม ตามแต่ชนิดของกล้วยไม้นั้นๆ ใบกล้วยไม้ทำหน้าที่สังเคราะห์แสง และยังทำหน้าที่คายน้ำออกจากต้นทำให้รากสามารถดูดซับน้ำ และแร่ธาตุไปใช้งานได้ด้วย
ลำต้น
การจำแนกกล้วยไม้ตามระบบราก
การ
จำแนกประเภทของกล้วยไม้ตามความแตกต่างของระบบราก เป็นเกณฑ์นี้
นับว่าเป็นประโยชน์ต่อการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้อีกทาง
เพราะผู้ปลูกเลี้ยงจะได้ใช้หลักเกณฑ์เหล่านี้มาพิจารณาตัดสินใจเลือกใช้
เครื่องปลูกและภาชนะที่มีลักษณะและคุณสมบัติให้เหมาะสมกับประเภทของระบบราก
กล้วยไม้
นอกจากนี้ยังได้พิจารณาถึงการจัดสภาพของเครื่องปลูกและวิธีการปลูกให้เหมาะ
สมกับการที่จะอำนวยให้รากกล้วยไม้เจริญแข็งแรงอีกด้วยเนื่องจากกล้วยไม้เป็น
พันธุ์ไม้วงศ์ใหญ่และมีลักษณะตลอดจนนิสัยที่แตกต่างกันอย่างแพร่หลาย
ทำให้สามารถจำแนกประเภทของกล้วยไม้ตามความแตกต่างของระบบรากได้ 4 ประเภท
1. กล้วยไม้ที่มีระบบรากแบบรากดิน
เป็นกล้วยไม้ที่มีระบบรากเกิดจากหัวที่อวบน้ำซึ่งอยู่ใต้ดิน
ตัวรากจะมีน้ำมาก ที่พบอยู่ในประเทศไทยมีหลายสกุล เช่น สกุลฮาเบนาเรีย
(Habenaria) เพคไทลิส (Pecteilis) เป็นต้น
2. กล้วยไม้ที่มีระบบรากแบบรากกึ่งดิน
กล้วยไม้ประเภทนี้ไม่มีหัวอวบน้ำเหมือนประเภทที่มีระบบรากแบบรากดิน เช่น
กล้วยไม้สกุลรองเท้านารี (Paphiopedilum) สกุลเอื้องพร้าว (Phaius) เป็นต้น
3. กล้วยไม้ที่มีระบบรากแบบรากกึ่งอากาศ
หมายถึงกล้วยไม้ซึ่งโดยธรรมชาติจะขึ้นอยู่บนพื้นดิน บนหิน บนไม้
หากพบขึ้นอยู่บนพื้นดินก็จะอยู่บนพื้นซึ่งมีใบไม้ผุตกทับถมกันค่อนข้างหนา
เนื่องจากสภาพที่โปร่งช่วยให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก เช่น กล้วยไม้สกุลแคทลียา
(Cattleya) สกุลหวาย (Dendrobium) เป็นต้น
4. กล้วยไม้ที่มีระบบรากอากาศ
กล้วยไม้ที่มีระบบรากเป็นรากอากาศอย่างแท้จริงนั้น มักพบขึ้นอยู่ตามต้นไม้
รากจะมีขนาดใหญ่และหยาบ เช่น สกุลแวนด้า (Vanda) สกุลช้าง (Rhynchostylis)
เป็นต้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)